หน้าหลัก
เกี่ยวกับฉัน
ติดต่อ
Comments system
Home-icon
หน้าหลัก
สื่อการเรียนการสอน
_arduino uno
__ตั้งค่า
__โมดูลวัดระยะทาง
__Servo Motor
_Esp8266
__การติดตั้ง
__จอ lCD
__sensor วัดระยะ
__เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ
_อิเล็กทรอนิกส์
__หน่วยที่ 1 วงจรไฟฟ้า
__หน่วยที่ 2 วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
__หน่วย2.1 ตัวต้านทาน
__หน่วย2.2 กฏของโอห์ม
__หน่วยที่ 3. อุปกรณ์อิเล็ก
__กิจกรรม การต่อวงจรขับ LED
__กิจกรรมการต่อวงจรขับLED2
__กิจกรรมทรานซิสเตอร์
__หน่วยที่ 4 สัญญาณดิจิทัล
__หน่วยที่ 5. โครงงานหุ่นยนต์
_IPST Microbox
__IPST Microbox คืออะไร
__อุปกรณ์ IPST MicroBox
__การติดตั้งโปรแกรม
__แผงวงจรหลัก
__คำสั่ง LCD
__คำสั่งสวิตซ์ OK และ KNOB
__คำสั่งLED
__สวิตช์นับ
__sensor
_โครงงานหุ่นยนต์
_วิทยาการคำนวณ
__หน่วยที่1 แนวคิดเชิงคำนวณ
__แผนภาพ Flowchart
__หน่วยที่ 2 การพัฒนาโครงงาน
__สรุป flowgolithm
_course python
Download สื่อ
_มัธยมศึกษาปีที่4
__Flowgorithm
__Python
__IDE pycharm
_เอกสารการเรียน arduino
หน้าแรก
Electronic
กิจกรรมที่ 3.2 การต่อวงจรขับ LED 2
กิจกรรมที่ 3.2 การต่อวงจรขับ LED 2
by -
By คุณเพชร
on -
มกราคม 11, 2563
กิจกรรมที่ 3.2 การต่อวงจรขับ LED2
วัสดุอุปกรณ์มีดังนี้
1. แบตเตอรี่ 1.5 V. ขนาด AA 2 ก้อน
2. กระบะถ่าน 2ก้อน 1 ตัว
3. ตัวต้านทาน
4. LED RGB 4 ขา
5. สายต่อวงจร
6. แผงต่อสวจรหรือเบรดบอร์ด
7. สวิตช์กดติดปล่อยดับ
ลายวงจรสวิตช์กดติดปล่อยดับ
การใช้งานปุ่มกดติดปล่อยดับ (Push Button)
Push button คือ สวิชท์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่ง มีหน้าที่ควบคุมการเปิด และ ปิด ของวงจรส่วนนั้นๆ โดยทั่วไปอาจมี 2 ขา หรือ 4 ขา
โดยปุ่มกดติดปล่อยดับนั้น เมื่อทำการกดจะเป็นการปิดวงจร ทำให้กระแสไฟฟ้าสามารถไหลผ่านวงจรได้ เมื่อไม่ได้กด จะทำให้วงจรเปิด กระแสไฟฟ้าจะไม่สามารถไหลผ่านวงจรได้
4 Pins Push Button (ปุ่มกดติดปล่อยดับ 4 ขา)
ปุ่มกดติดปล่อยดับ 4 ขา เป็นที่นิยมกันอย่างมาก การต่อวงจรอาจดูเหมือนยุ่งยาก แต่อันที่จริงแล้วสามารถต่อได้ง่ายดายมากถ้าเข้าใจหลักการทำงานของมัน
หลักการทำงานของ 4 Pins Push Button
การทำงานของมันจะแยกเป็น 2 ส่วน คือ ตอนที่ยังไม่กด (Not Pressed) และ ตอนที่กด (Pressed)
ซึ่งเมื่อเราลองจัดวางปุ่ม Button นี้ ดังรูป โดยให้ด้านหน้าและหลังของปุ่ม ไม่มีขา ส่วนด้านซ้ายเป็นขา 1 กับ 3 และด้านขวาเป็นขา 2 กับ 4
เมื่อวงจรเปิด (
Not Pressed
) :
ขาที่ 1 จะเชื่อมอยู่กับขาที่ 2 / ขาที่ 3 จะเชื่อมอยู่กับขาที่ 4
เมื่อวงจรปิด (Pressed) :
ขาที่ 1 จะเชื่อมอยู่กับขาที่ 3 / ขาที่ 2 จะเชื่อมอยู่กับขาที่ 4
หรือพูดง่ายๆคือ เมื่อเรายังไม่ได้กดปุ่ม ขา ที่ 1 จะเชื่อมอยู่กับขาที่ 2 และ ขาที่ 3 จะเชื่อมอยู่กับขาที่ 4 แต่เมื่อเรากดปุ่มแล้ว จะเกิดการสลับคู่ของขา เพื่อเปลี่ยนแปลงเส้นทางการจ่ายกระแสไฟฟ้าในวงจรนั่นเอง
เราสามารถใช้หลักการนี้มาควบคุมการเปิด และ ปิด ของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้ง่ายๆ
การใช้งาน 4 Pins Push Button
(การต่อวงจร)
จากหลักการทำงานของมัน จะสังเกตได้ว่าการสลับคู่ของขานั้น ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า ซึ่งมีลักษณะการต่อดังรูป
อธิบายรูปภาพ :
จากวงจรดังรูป ขา 3 ของปุ่ม Button เชื่อมเข้ากับแหล่งจ่ายไฟเลี้ยง 3 Volts , ขา 1 ของปุ่ม เชื่อมเข้กับขา + ของหลอด LED และขา - ของ LED เชื่อมเข้ากับ Ground , ขา 2 ของปุ่ม เชื่อมเข้ากับตัวต้านทาน โดยที่อีกขาของตัวต้านทานเชื่อมเข้ากับ Ground
• เมื่อวงจรเปิด (Not Pressed) ขา 1 ของปุ่ม จะเชื่อมเข้ากับขา 2 เป็นเหตุทำให้ขา + ของ LED เชื่อมต่อกับ Ground จึงทำให้ ไฟดับ
•
เมื่อวงจรปิด
(Pressed)
ขา 1 ของปุ่ม จะเชื่อมเข้ากับขา 3 เป็นเหตุทำให้ขา + ของ LED เชื่อมต่อกับ แหล่งจ่าย 3 Volts ทำให้ไฟติด
* ค่าความต้านทานของตัวต้านทานที่ใช้ต้องพิจารณาจาก LED เป็นหลัก
แสดงความคิดเห็น
0 ความคิดเห็น
ผู้ติดตาม
Social Plugin
Popular Posts
สวิตช์นับจำนวน IPST MicroBox
ธันวาคม 03, 2562
LED1และLED8 IPST MicroBox
ธันวาคม 02, 2562
การใช้โปรแกรม Flowgorithm เบื้องต้น
พฤศจิกายน 28, 2562
แนะนำตัว
ขับเคลื่อนโดย Blogger
0 ความคิดเห็น